เปิดสถิติล่าสุด อาฟเตอร์ช็อก เขย่าต่อเนื่องกว่า 40 ครั้ง หลังแผ่นดินไหวเมียนมา พบรุนแรงสุดที่ 7.1 ไทยเจอด้วยที่ จ.แม่ฮ่องสอน ขนาด 3.3
.jpg)
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ล่าสุด เว็บไซต์ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว ได้เผยสถิติการเกิดอาฟเตอร์ช็อก ซึ่งพบว่ามีการเกิดอาฟเตอร์ช็อกอย่างต่อเนื่อง โดยรุนแรงสุดที่ขนาด 5.5 และ 5.2 ในประเทศเมียนมา ขณะที่ประเทศไทยได้รับรู้แรงสั่นสะเทือนขนาด 3.3 ที่ ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน เมื่อเวลา 14.49 น.
ครั้งที่ 1 เวลา 13.32 น. ขนาด 7.1
ครั้งที่ 2 เวลา 13.45 น. ขนาด 5.5
ครั้งที่ 3 เวลา 14.24 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 4 เวลา 14.37 น. ขนาด 5.2
ครั้งที่ 5 เวลา 14.42 น. ขนาด 3.9
ครั้งที่ 6 เวลา 14.57 น. ขนาด 4.7
ครั้งที่ 7 เวลา 15.21 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 8 เวลา 15.45 น. ขนาด 3.7
ครั้งที่ 9 เวลา 15.52 น. ขนาด 3.8
ครั้งที่ 10 เวลา 16.26 น. ขนาด 4.3
ครั้งที่ 11 เวลา 16.30 น. ขนาด 4.5
ครั้งที่ 12 เวลา 16.55 น. ขนาด 4.9
ขณะที่ เพจ มิตรเอิร์ธ โดย
ดร.สันติ ภัยหลบลี้ อาจารย์ภาควิชาธรณีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เปิดเผยว่า จากกรณีแผ่นดินไหวขนาด 8.2 ที่ประเทศเมียนมา
ขณะนี้ได้เกิดอาฟเตอร์ช็อกขนาด 6.4 ซึ่งต่อไปความรุนแรง ก็จะเล็กลงเรื่อย ๆ
อยู่ที่ขนาด 5.3 ลงมา
พร้อมแนะนำว่า อาคารสูงยังไม่ควรเข้าไปอยู่ และสถานการณ์แบบนี้ วันพรุ่งนี้หรือมะรืนนี้ (29-30 มี.ค. 58) ก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ
![แผ่นดินไหวเมียนมา แผ่นดินไหวเมียนมา]()
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
![แผ่นดินไหวเมียนมา แผ่นดินไหวเมียนมา]()
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ขอบคุณข้อมูลจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
.jpg)
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
จากเหตุการณ์แผ่นดินไหวเมียนมา สั่นสะเทือนหลายพื้นที่ของประเทศไทย
เมื่อเวลาประมาณ 13.20 น. ของวันที่ 28 มีนาคม 2558
(โดยมีจุดศูนย์กลางของแผ่นดินไหวอยู่ที่ประเทศเมียนมา ใกล้เมืองมัณฑะเลย์
ขนาด 8.2) ส่งผลให้ประชาชนรู้สึกได้ถึงความสั่นไหวของอาคาร บ้านเรือน
เสาไฟฟ้า ฯลฯ จนต้องรีบหนีออกจากพื้นที่เป็นการด่วน
อีกทั้งยังทำให้หลายคนกังวลว่าจะเกิดอาฟเตอร์ช็อกตามมานั้น
ล่าสุด เว็บไซต์ กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว ได้เผยสถิติการเกิดอาฟเตอร์ช็อก ซึ่งพบว่ามีการเกิดอาฟเตอร์ช็อกอย่างต่อเนื่อง โดยรุนแรงสุดที่ขนาด 5.5 และ 5.2 ในประเทศเมียนมา ขณะที่ประเทศไทยได้รับรู้แรงสั่นสะเทือนขนาด 3.3 ที่ ต.เวียงเหนือ อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน เมื่อเวลา 14.49 น.

ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ด้าน
กรมอุตุนิยมวิทยา ได้รายงานอาฟเตอร์ช็อกเหตุการณ์แผ่นดินไหวขนาด 8.2
ความลึก 10 กิโลเมตร ที่เกิดขึ้นเมื่อเวลา 13.20 น. วันที่ 28 มีนาคม 2568 จำนวน 44 ครั้ง (ข้อมูล ณ เวลา 21.58 น.) ดังนี้ครั้งที่ 1 เวลา 13.32 น. ขนาด 7.1
ครั้งที่ 2 เวลา 13.45 น. ขนาด 5.5
ครั้งที่ 3 เวลา 14.24 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 4 เวลา 14.37 น. ขนาด 5.2
ครั้งที่ 5 เวลา 14.42 น. ขนาด 3.9
ครั้งที่ 6 เวลา 14.57 น. ขนาด 4.7
ครั้งที่ 7 เวลา 15.21 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 8 เวลา 15.45 น. ขนาด 3.7
ครั้งที่ 9 เวลา 15.52 น. ขนาด 3.8
ครั้งที่ 10 เวลา 16.26 น. ขนาด 4.3
ครั้งที่ 11 เวลา 16.30 น. ขนาด 4.5
ครั้งที่ 12 เวลา 16.55 น. ขนาด 4.9
ครั้งที่ 13 เวลา 16.26 น. ขนาด 4.3
ครั้งที่ 14 เวลา 16.30 น. ขนาด 4.5
ครั้งที่ 15 เวลา 16.55 น. ขนาด 4.9
ครั้งที่ 16 เวลา 17.28 น. ขนาด 3.1
ครั้งที่ 17 เวลา 17.30 น. ขนาด 4.1
ครั้งที่ 18 เวลา 17.50 น. ขนาด 3.0
ครั้งที่ 19 เวลา 17.53 น. ขนาด 2.8
ครั้งที่ 20 เวลา 17.59 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 21 เวลา 18.10 น. ขนาด 3.3
ครั้งที่ 22 เวลา 18.30 น. ขนาด 4.2
ครั้งที่ 23 เวลา 18.57 น. ขนาด 2.9
ครั้งที่ 24 เวลา 19.02 น. ขนาด 4.1
ครั้งที่ 25 เวลา 19.09 น. ขนาด 2.4
ครั้งที่ 26 เวลา 19.13 น. ขนาด 2.9
ครั้งที่ 27 เวลา 19.22 น. ขนาด 5.5
ครั้งที่ 24 เวลา 19.02 น. ขนาด 4.1
ครั้งที่ 25 เวลา 19.09 น. ขนาด 2.4
ครั้งที่ 26 เวลา 19.13 น. ขนาด 2.9
ครั้งที่ 27 เวลา 19.22 น. ขนาด 5.5
ครั้งที่ 28 เวลา 19.33 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 29 เวลา 19.36 น. ขนาด 3.8
ครั้งที่ 30 เวลา 19.51 น. ขนาด 4.0
ครั้งที่ 31 เวลา 19.52 น. ขนาด 4.6
ครั้งที่ 32 เวลา 20.11 น. ขนาด 2.7
ครั้งที่ 33 เวลา 20.17 น. ขนาด 2.5
ครั้งที่ 34 เวลา 20.18 น. ขนาด 3.4
ครั้งที่ 35 เวลา 20.26 น. ขนาด 2.8
ครั้งที่ 36 เวลา 20.49 น. ขนาด 2.6
ครั้งที่ 37 เวลา 20.56 น. ขนาด 3.1
ครั้งที่ 38 เวลา 21.11 น. ขนาด 2.8
ครั้งที่ 39 เวลา 21.20 น. ขนาด 2.7
ครั้งที่ 40 เวลา 21.24 น. ขนาด 2.4
ครั้งที่ 41 เวลา 21.29 น. ขนาด 2.1
ครั้งที่ 42 เวลา 21.36 น. ขนาด 2.3
ครั้งที่ 43 เวลา 21.43 น. ขนาด 2.2
ครั้งที่ 44 เวลา 21.49 น. ขนาด 4.4
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
พร้อมแนะนำว่า อาคารสูงยังไม่ควรเข้าไปอยู่ และสถานการณ์แบบนี้ วันพรุ่งนี้หรือมะรืนนี้ (29-30 มี.ค. 58) ก็จะเข้าสู่ภาวะปกติ
.jpg)
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
.jpg)
ภาพจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว
ขอบคุณข้อมูลจาก กองเฝ้าระวังแผ่นดินไหว